บทที่ 2
1.วิธีการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ(Child Center)
1.1 วิธีการสอนแบบแก้ปัญหา(Problem-Solving Method)
วิธีสอนนี้ จอห์น ดิวอี้(John Dewey) เป็นผู้คิดค้นขึ้นมา หลักใหญ่อาศัยวิธีการสอนที่ใช้แก้ปัญหาของนักเรียน โดยครูเป็นผู้ชี้แนะเท่านั้น วิธีการแก้ปัญหาโดยใช้วิธีการทางวิทยาศาสตร์(Scientific Method) ทุกประการคือ
- กำหนดขอบเขตของปัญหา(Location of Problem)
- ตั้งสมมติฐาน(Setting up of Hypothesis)
- ทดลองและรวบรวมข้อมูล(Experimenting and Gathering of Data)
- วิเคราะห์ข้อมูล(Analysis of Data)
- สรุป(Conclusion)
1.2 วิธีการสอนแบบแสดงบทบาท(Role Playing)
เป็นการสอนที่กําหนดให้ผู้เรียน แสดงบทบาทตาม สมมติขึ้นเทียบเคียงกับสภาพที่เป็นจริงหรือแสดงออกตามแนวที่คิดว่าควรจะเป็น เพื่อให้ผู้ดูเกิด ความรู้ ความเข้าใจในสิ่งที่เกิดขึ้นการแสดงบทบาทสมมติจะช่วยให้เกิดความสนใจ ฝึกความกล้า ที่จะแสดงออก เป็นการผ่อนคลายอารมณ์ตรึงเครียดของเด็ก การแสดงบทบาทสมมติต่างจากเกม จําลองสถานการณ์ ศรงที่ไม่มีเกณฑ์และการแข่งขัน
1.3 วิธีการสอนแบบวิทยาศาสตร์ (Scientific Method)
วิธีการสอนแบบวิทยาศาสตร์ เป็นการสอนโดยนำหลักการทางวิทยาศสตร์มาใช้เป็นโอกาสให้นักเรียนได้ค้นพบ ปัญหา และวิธีการแก้ไข ด้วยกระบวนการแก้ปัญหาทางวิทยาศาสตร์ 5 ขั้น วิธีสอนแบบวิทยาศาสตร์ เหมาะสำหรับ การสึกษา ค้นคว้า ทดลอง แบบง่ายๆ
1.4 วิธีสอนตามขั้นที่ 4 ของอริยสัจ(Buddist's Method)
ขั้นต่างๆของอริยสัจสี่ = ขั้นต่างๆ ของวิธีการแก้ปัญหา หรือวิธีการทางวิทยาศาสตร์
เป็นการสอนที่กําหนดให้ผู้เรียน แสดงบทบาทตาม สมมติขึ้นเทียบเคียงกับสภาพที่เป็นจริงหรือแสดงออกตามแนวที่คิดว่าควรจะเป็น เพื่อให้ผู้ดูเกิด ความรู้ ความเข้าใจในสิ่งที่เกิดขึ้นการแสดงบทบาทสมมติจะช่วยให้เกิดความสนใจ ฝึกความกล้า ที่จะแสดงออก เป็นการผ่อนคลายอารมณ์ตรึงเครียดของเด็ก การแสดงบทบาทสมมติต่างจากเกม จําลองสถานการณ์ ศรงที่ไม่มีเกณฑ์และการแข่งขัน
1.3 วิธีการสอนแบบวิทยาศาสตร์ (Scientific Method)
วิธีการสอนแบบวิทยาศาสตร์ เป็นการสอนโดยนำหลักการทางวิทยาศสตร์มาใช้เป็นโอกาสให้นักเรียนได้ค้นพบ ปัญหา และวิธีการแก้ไข ด้วยกระบวนการแก้ปัญหาทางวิทยาศาสตร์ 5 ขั้น วิธีสอนแบบวิทยาศาสตร์ เหมาะสำหรับ การสึกษา ค้นคว้า ทดลอง แบบง่ายๆ
1.4 วิธีสอนตามขั้นที่ 4 ของอริยสัจ(Buddist's Method)
ขั้นต่างๆของอริยสัจสี่ = ขั้นต่างๆ ของวิธีการแก้ปัญหา หรือวิธีการทางวิทยาศาสตร์
ทุกข์ = กำหนดปัญหา
สมุทัย = การตั้งสมมติฐาน
นิโรธ = การทดลองและเก็บข้อมูล
มรรค = การวิเคราะห์ข้อมูล สรุป
1.5 วิธีการสอนแบบทดลอง(The Laboratory Method)
วิธีการสอนแบบทดลอง มีลักษณะคล้ายกับวิธีการสอนแบบวิทยาศาสตร์
แต่มีการปรับปรุงหลักการบางส่วนเพื่อความเหมาะสมกับการเรียนวิชาอื่นๆ
เช่น ภาษาอังกฤษ คณิตศาสตร์
วิธีการสอนแบบทดลองจะแสดงข้อเท็จจริง จากการสืบสวน ค้นคว้าและทดลอง ซึ่งวิธีการสอนแบบนี้ยังต่างจากการสอนแบบสาธิตด้วย
เพราะการสอนแบบสาธิตเป็น
ผู้ทดลองให้นักเรียนดูส่วนการสอนแบบทดลองนักเรียนเป็นผู้ลงมือปฏิบัติเอง
1.6 วิธีการสอนแบบอภิปราย(Discussion Method)
วิธีการสอนแบบอภิปรายเป็นการสอนแบบการเปลี่ยนความคิดเห็นซึ่งกันและกัน
เพื่อช่วยแก้ไขปัญหาอย่างใดอย่างหนึ่งระหว่างครูกับนักเรียน
หรือระหว่างนักเรียนด้วยกัน โดยมีครูเป็นผู้ประสานงาน
1.7 วิธีการสอนแบบจุลภาค(Micro-Teaching)
วิธีการสอนแบบจุลภาค เป็นนวัตกรรมการศึกษา(Educational
Innovation)
เป็นประสบการณ์ที่ย่อส่วนลงมาอยู่ภายใต้สภาพแวดล้อมที่มีการควบคุมอย่าง
รัดกุม โดยสอนในห้องเรียนแบบง่ายๆ กับนักเรียน 5-6 คน ใช้เวลา 5-15
นาที เปิดโอกาสให้ครู ได้ฝึกทักษะการสอนแบบใหม่ๆ
1.8 วิธีการสอนแบบโครงการ(Project Method)
วิธีการสอนแบบโครงการ เป็นการสอนที่ให้นักเรียนเป็นหมู่หรือรายบุคคลได้วางโครงการ และดำเนินงานให้สำเร็จตามโครงการนั้น เป็นการสอนที่สอดคล้องกับสภาพชีวิตจริงนักเรียนเริ่มต้นทำโครงการด้วยการ ตั้งปัญหาและดำเนินการแก้ปัญหาด้วยการลงมือปฏิบัติจริง เช่น โครงการแก้ปัญหาความสกปรกของโรเงรียน เป็นต้น
1.9 วิธีการสอนแบบหน่วย(Unit Teaching Method)
วิธีสอนแบบหน่วยเป็นวิธีการสอนที่นำเนื้อหาวิชาหลายวิชามาสัมพันธ์กันโดยไม่ กำหนดขอบเขตของวิชา แต่ยึดความมุ่งหมายของบทเรียนที่เรียกว่า หน่วย
1.10 วิธีการสอนแบบศูนย์การเรียนรู้(Learning Center)
เป็นการเรียนรู้จากการประกอบกิจกรรมของนักเรียนโดยแบ่งบทเรียนออกเป็น 4-6 กลุ่ม แต่ละศูนย์ประกอบกิจกรรมแตกต่างกันออกไปตามที่กำหนดไว้ในชุดการสอน
1.11 วิธีการสอนโดยใช้บทเรียนแบบโปรแกรม(Programmed Instruction)
วิธีการสอนโดยใช้บทเรียนแบบโปรแกรม หมายถึง สื่อการเรียนที่ช่วยให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ด้วยตนเองตามความสามารถของแต่ละ บุคคล
1.12 บทเรียนโมดูล(Module)
บทเรียนโมดูลเป็นบทเรียนหน่วยหนึ่ง ที่สร้างขึ้นมาเพื่อให้ผู้เรียนได้ศึกษา เพื่อให้เกิดการเรียนรู้ตามจุดประสงค์ของบทเรียนที่สร้างขึ้น องค์ประกอบสำคัญ คือ
1.หลักการและเหตุผล(Prospectus)
2.จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม(Behavioral Objectives)
3.การประเมินผลก่อนเรียน(Pre-Assessment)
4.กิจกรรมการเรียน(Enabling Activities)
5.การประเมินผลหลังเรียน(Post-Assessment)
1.13 คอมพิวเตอร์ช่วยสอน(Computer Assisted Instruction)
คอมพิวเตอร์ คือ สื่อการสอนที่เป็นเทคโนโลยีระดับสูง ที่นำมาประยุกต์ใช้ในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนให้ผู้เรียนคอมพิวเตอร์มี ปฏิสัมพันธ์กัน
1.14 การสอนซ่อมเสริม
การสอนซ่อมเสริม หมายถึง การจัดการเรียนเพิ่มแก่นักเรียนที่มีระดับสติปัญญาต่ำ เรียนไม่ทันเพื่อน ขาดความคิดรวบยอด หรือจัดการเรียนเพิ่มแก่นักเรียนที่เก่งฉลาดเพื่อได้รับความรู้เพิ่มขึ้น
1.15 หมวกแห่งความคิด(The Six Thinking Hats)
Edward de Bon ได้พัฒนากิจกรรมเพื่อพัฒนาความคิด
หมวก คือ จะช่วยให้ผู้เรียนได้พยายามคิด ทั้งคิดในรอบ คิดทั้งจุดดี จุดด้อย จุดที่สนใจ ความรู้สึกที่มีต่อสิ่งนั้นๆ แทนที่จะยึดกับความคิดเพียงด้านเดียวหมวกแห่งความคิดมี 6 ใบดังนี้
1.หมวกสีขาว ขาวบริสุทธิ์ เป็นตัวแทนข้อเท็จจริง ข้อมูล ตัวเลข
2.หมวกสีแดง แทนอารมณ์ความรู้สึก และหยั่งรู้
3.หมวกสีดำ แทนความคิดทางลบในทางที่ไม่ดี ไม่ได้ผล จุดด้อย ข้อผิดพลาด
4.หมวกสีเหลือง แทนสิ่งที่ถูกต้อง สิ่งสร้างสรรค์ สนับสนุน ให้กำลังใจ
5.หมวกสีเขียว แทนการเจริญเติบโต ความอุดมสมบูรณ์ คุณค่าของความคิด
6.หมวกสีน้ำเงิน แทนการควบคุม ควบคุมบทบาทสมาชิกของกลุ่ม
1.16 การสอนแบบ 4 MAT
เป็นแผนการสอนที่ประยุกต์มาจากแบบใยแมงมุม แต่กิจกรรมนั้น 4 ขั้นตอน หรือใช้กับผู้เรียนที่มีความแตกต่างระหว่างบุคค คือ
ขั้นที่ 1 Why(ทำไม) เพื่อตั้งคำถาม กระตุ้นให้เด็กสนใจในเรื่องที่เรียน
ขั้นที่ 2 What(อะไร) เป็นการอธิบายความเข้าใจการจัดการศึกษาด้วยตนเอง
ขั้นที่ 3 How(ทำอย่างไร) เป็นการนำไปปฏิบัติ การนำไปใช้
ขั้นที่ 4 If(ถ้า...) เป็นการกระตุ้น
1.17 แผนการสอนแบบ CIPPA
แผนการสอนแบบ CIPPA เป็นแผนการสอนที่ใช้กิจกรรมที่เน้นผู้เรียน เป็นศูนย์กลาง 5 ด้าน ได้แก่
1.Construct หรือการสร้างความรู้ตามแนวคิดของ Constructivism ที่เปิดโอกาสให้ผู้เรียนสร้างความรู้ด้วยตนเอง
2.Interaction หรือการปฏิสัมพันธ์ หมายถึง ผู้เรียนมีโอกาสปฏิสัมพันธ์กับผู้สอนสื่อ และสิ่งแวดล้อม
3.Physical Participation หรือการมีส่วนร่วมทางกาย หมายถึง ผู้เรียนมีโอกาสเคลื่อนไหวร่างกายในการทำกิจกรรมลักษณะต่างๆ
4.Process Learning หรือการเรียนรู้กระบวนการต่างๆ ซึ่งเป็นทักษะที่จำเป็นต่อการดำรงชีวิต
5.Application หรือการนำความรู้ไปประยุกต์ใช้ หมายถึง ผู้เรียนสามารถนำความรู้ไปใช้ได้ในสถานการณ์ต่างๆ
1.18 วิธีสอนแบบ Storyline
วิธีสอนแบบ Storyline เป็นการสอนแบบบูรณาการโดยการดึงเอาแนวคิดจากวิชาต่างๆ เช่น คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ สังคมศึกษา ภาษา ศิลปะ โดยใช้กนะบวนการหลากหลายมาแก้ปัญหา และกิจกรรมหลายๆรูปแบบ
อ้างอิง
พิจิตรา ธงพานิช. วิชาการออกแบบและการจัดการเรียนรู้ในชั้นเรียน. นครปฐม : โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยศิลปากร.
วิธีการสอนแบบโครงการ เป็นการสอนที่ให้นักเรียนเป็นหมู่หรือรายบุคคลได้วางโครงการ และดำเนินงานให้สำเร็จตามโครงการนั้น เป็นการสอนที่สอดคล้องกับสภาพชีวิตจริงนักเรียนเริ่มต้นทำโครงการด้วยการ ตั้งปัญหาและดำเนินการแก้ปัญหาด้วยการลงมือปฏิบัติจริง เช่น โครงการแก้ปัญหาความสกปรกของโรเงรียน เป็นต้น
1.9 วิธีการสอนแบบหน่วย(Unit Teaching Method)
วิธีสอนแบบหน่วยเป็นวิธีการสอนที่นำเนื้อหาวิชาหลายวิชามาสัมพันธ์กันโดยไม่ กำหนดขอบเขตของวิชา แต่ยึดความมุ่งหมายของบทเรียนที่เรียกว่า หน่วย
1.10 วิธีการสอนแบบศูนย์การเรียนรู้(Learning Center)
เป็นการเรียนรู้จากการประกอบกิจกรรมของนักเรียนโดยแบ่งบทเรียนออกเป็น 4-6 กลุ่ม แต่ละศูนย์ประกอบกิจกรรมแตกต่างกันออกไปตามที่กำหนดไว้ในชุดการสอน
1.11 วิธีการสอนโดยใช้บทเรียนแบบโปรแกรม(Programmed Instruction)
วิธีการสอนโดยใช้บทเรียนแบบโปรแกรม หมายถึง สื่อการเรียนที่ช่วยให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ด้วยตนเองตามความสามารถของแต่ละ บุคคล
1.12 บทเรียนโมดูล(Module)
บทเรียนโมดูลเป็นบทเรียนหน่วยหนึ่ง ที่สร้างขึ้นมาเพื่อให้ผู้เรียนได้ศึกษา เพื่อให้เกิดการเรียนรู้ตามจุดประสงค์ของบทเรียนที่สร้างขึ้น องค์ประกอบสำคัญ คือ
1.หลักการและเหตุผล(Prospectus)
2.จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม(Behavioral Objectives)
3.การประเมินผลก่อนเรียน(Pre-Assessment)
4.กิจกรรมการเรียน(Enabling Activities)
5.การประเมินผลหลังเรียน(Post-Assessment)
1.13 คอมพิวเตอร์ช่วยสอน(Computer Assisted Instruction)
คอมพิวเตอร์ คือ สื่อการสอนที่เป็นเทคโนโลยีระดับสูง ที่นำมาประยุกต์ใช้ในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนให้ผู้เรียนคอมพิวเตอร์มี ปฏิสัมพันธ์กัน
1.14 การสอนซ่อมเสริม
การสอนซ่อมเสริม หมายถึง การจัดการเรียนเพิ่มแก่นักเรียนที่มีระดับสติปัญญาต่ำ เรียนไม่ทันเพื่อน ขาดความคิดรวบยอด หรือจัดการเรียนเพิ่มแก่นักเรียนที่เก่งฉลาดเพื่อได้รับความรู้เพิ่มขึ้น
1.15 หมวกแห่งความคิด(The Six Thinking Hats)
Edward de Bon ได้พัฒนากิจกรรมเพื่อพัฒนาความคิด
หมวก คือ จะช่วยให้ผู้เรียนได้พยายามคิด ทั้งคิดในรอบ คิดทั้งจุดดี จุดด้อย จุดที่สนใจ ความรู้สึกที่มีต่อสิ่งนั้นๆ แทนที่จะยึดกับความคิดเพียงด้านเดียวหมวกแห่งความคิดมี 6 ใบดังนี้
1.หมวกสีขาว ขาวบริสุทธิ์ เป็นตัวแทนข้อเท็จจริง ข้อมูล ตัวเลข
2.หมวกสีแดง แทนอารมณ์ความรู้สึก และหยั่งรู้
3.หมวกสีดำ แทนความคิดทางลบในทางที่ไม่ดี ไม่ได้ผล จุดด้อย ข้อผิดพลาด
4.หมวกสีเหลือง แทนสิ่งที่ถูกต้อง สิ่งสร้างสรรค์ สนับสนุน ให้กำลังใจ
5.หมวกสีเขียว แทนการเจริญเติบโต ความอุดมสมบูรณ์ คุณค่าของความคิด
6.หมวกสีน้ำเงิน แทนการควบคุม ควบคุมบทบาทสมาชิกของกลุ่ม
1.16 การสอนแบบ 4 MAT
เป็นแผนการสอนที่ประยุกต์มาจากแบบใยแมงมุม แต่กิจกรรมนั้น 4 ขั้นตอน หรือใช้กับผู้เรียนที่มีความแตกต่างระหว่างบุคค คือ
ขั้นที่ 1 Why(ทำไม) เพื่อตั้งคำถาม กระตุ้นให้เด็กสนใจในเรื่องที่เรียน
ขั้นที่ 2 What(อะไร) เป็นการอธิบายความเข้าใจการจัดการศึกษาด้วยตนเอง
ขั้นที่ 3 How(ทำอย่างไร) เป็นการนำไปปฏิบัติ การนำไปใช้
ขั้นที่ 4 If(ถ้า...) เป็นการกระตุ้น
1.17 แผนการสอนแบบ CIPPA
แผนการสอนแบบ CIPPA เป็นแผนการสอนที่ใช้กิจกรรมที่เน้นผู้เรียน เป็นศูนย์กลาง 5 ด้าน ได้แก่
1.Construct หรือการสร้างความรู้ตามแนวคิดของ Constructivism ที่เปิดโอกาสให้ผู้เรียนสร้างความรู้ด้วยตนเอง
2.Interaction หรือการปฏิสัมพันธ์ หมายถึง ผู้เรียนมีโอกาสปฏิสัมพันธ์กับผู้สอนสื่อ และสิ่งแวดล้อม
3.Physical Participation หรือการมีส่วนร่วมทางกาย หมายถึง ผู้เรียนมีโอกาสเคลื่อนไหวร่างกายในการทำกิจกรรมลักษณะต่างๆ
4.Process Learning หรือการเรียนรู้กระบวนการต่างๆ ซึ่งเป็นทักษะที่จำเป็นต่อการดำรงชีวิต
5.Application หรือการนำความรู้ไปประยุกต์ใช้ หมายถึง ผู้เรียนสามารถนำความรู้ไปใช้ได้ในสถานการณ์ต่างๆ
1.18 วิธีสอนแบบ Storyline
วิธีสอนแบบ Storyline เป็นการสอนแบบบูรณาการโดยการดึงเอาแนวคิดจากวิชาต่างๆ เช่น คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ สังคมศึกษา ภาษา ศิลปะ โดยใช้กนะบวนการหลากหลายมาแก้ปัญหา และกิจกรรมหลายๆรูปแบบ
อ้างอิง
พิจิตรา ธงพานิช. วิชาการออกแบบและการจัดการเรียนรู้ในชั้นเรียน. นครปฐม : โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยศิลปากร.
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น